วันศุกร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2551

ลำดับพระบรมวงศานุวงศ์...ในรัชกาลปัจจุบัน


ลำดับที่ 1 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ลำดับที่ 2 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
ลำดับที่ 3 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณฯ สยามมกุฎราชกุมาร
ลำดับที่ 4 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธรฯ สยามบรมราชกุมารี
ลำดับที่ 5 สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ลำดับที่ 6 สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตน์ราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทรงเป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กับพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี
ลำดับที่ 7 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
พระนามเดิมว่า "หม่อมเจ้าหญิงกัลยาณิวัฒนา" เป็นพระธิดาในสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระบรมราชชนก) กับหม่อมสังวาลย์ มหิดล (สมเด็จพระบรมราชชนนี) ในสมัยรัชกาลที่ 7 ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น "พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงกัลยาณิวัฒนา" ในสมัยรัชกาลที่ 8 เป็นที่ "สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้า" และได้กราบบังคมทูลลาออกจากฐานันดรศักดิ์ เพื่อทำการสมรสกับพันเอกอร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ จนกระทั่งในรัชกาลปัจจุบันจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานคืนฐานันดรศักดิ์ ลำดับที่ 8 ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน์ราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
พระนามเดิมว่า "สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตน์ราชกัญญาฯ" เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับ กับสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ต่อมาได้กราบบังคมทูลลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อทำการสมรส ลำดับที่ 9 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร
สกุลเดิม "อัครพงศ์ปรีชา" อภิเสกสมรสกับสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2544 ต่อมาเมื่อมีพระประสูติกาลพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์ เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2548 ลำดับที่ 10 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
พระนามเดิมว่า "หม่อมหลวงโสมสวลี กิติยากร" เป็นธิดาของหม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร กับท่านผู้หญิงพันธุ์สวลี ยุคล อภิเษกสมรสกับสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร และได้รับสถาปนาให้ดำรงฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์ เมื่อวันที่ 3 มกราคม 2520 ต่อมาในวันที่ 12 สิงหาคม 2534 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระนามเป็น "พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ" ลำดับที่ 11 พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา
ทรงเป็นพระธิดาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรรา
ชาทินัดามาตุ มีศักดิ์เป็นพระเจ้าหลานเธอพระองค์ใหญ่ในรัชกาลปัจจุบัน ลำดับที่ 12 พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์
ทรงมีพระนามเดิมว่า "หม่อมเจ้าสิริวัณวรี มหิดล" เป็นพระธิดาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร กับนางสุจาริณี วิวัชรวงศ์
ลำดับที่ 13 พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ
ทรงเป็นพระโอรสในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายา
ลำดับที่ 14 พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์
ทรงเป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กับนาวาอากาศเอกวีรยุทธ ดิษยศรินทร์
ลำดับที่ 15 พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ
ทรงเป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กับนาวาอากาศเอกวีรยุทธ ดิษยศรินทร์ ปัจจุบันประทับอยู่กับพระบิดาที่ประเทศสหรัฐอเมริกา
ลำดับที่ 16 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร
ทรงเป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ
นฤมล มีศักดิ์เป็นพระหลานเธอในรัชกาลที่ 5
ลำดับที่ 17 หม่อมเจ้าหลานเธอในรัชกาลปัจจุบัน
ราชสกุล "มหิดล" พระโอรสธิดาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร
หม่อมเจ้าจุฑาวัชร (มหิดล) วิวัชรวงศ์
หม่อมวัชเรศร (มหิดล) วิวัชรวงศ์
หม่อมเจ้าจักรีวัชร (มหิดล) วิวัชรวงศ์
หม่อมเจ้าวัชรวีร์ (มหิดล) วิวัชรวงศ์
ลำดับที่ 18 หม่อมเจ้าหลานเธอในรัชกาลที่ 4**
(ทรงพระดำเนินตามศักดิ์ของพระบิดา และเรียงตามพระชันษา)
ราชสกุล "จิตรพงศ์" พระโอรสธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 4 เจ้าฟ้าฯ กรมพระยานริศรานุวัติวงศ์
หม่อมเจ้าหญิงกรณิกา จิตรพงศ์ ราชสกุล "ชยางกูร" พระโอรสธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 4 กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป
หม่อมเจ้าวราชัย ชยางกูร (2470 - ปัจจุบัน) ***
หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา ชยางกูร (2467 - ปัจจุบัน) ***
หม่อมเจ้าอุทัยเที่ยง ชยางกูร (2473 - ปัจจุบัน) ***
หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ชยางกูร (2475 - ปัจจุบัน) ***
ราชสกุล "ดิศกุล" พระโอรสธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 4 กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
หม่อมเจ้าหญิงกฤษณาพักตรพิมล ดิศกุล
ลำดับที่ 19 หม่อมเจ้าหลานเธอในรัชกาลที่ 5** (ทรงพระดำเนินตามศักดิ์ของพระบิดา และเรียงตามพระชันษา)
ราชสกุล "กิติยากร" พระโอรสธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 5 กรมพระจันทรบุรีนฤนาท
หม่อมเจ้าวินิตา กิติยากร
หม่อมเจ้าสุวนิต กิติยากร
หม่อมเจ้ากิตติปียา กิติยากร
ราชสกุล "ระพีพัฒน์" พระโอรสธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 5 กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
หม่อมเจ้าวิพันธุ์ไพโรจน์ ระพีพัฒน์
หม่อมเจ้าดวงทิพโชติแจ้งหล้า ระพีพัฒน์
หม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด ระพีพัฒน์
ราชสกุล "ฉัตรชัย" พระโอรสธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 5 กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน
หม่อมเจ้าภัทรลดา (ฉัตรชัย) ดิศกุล
หม่อมเจ้าสุรฉัตร ฉัตรชัย
หม่อมเจ้าชายทิพยฉัตร ฉัตรชัย
ราชสกุล "วุฒิชัย" พระโอรสธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 5 กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร
หม่อมเจ้าหญิงวุฒิสวาท วุฒิชัย
หม่อมเจ้าหญิงวุฒิเฉลิม วุฒิชัย
หม่อมเจ้าหญิงวุฒิวิฑูร วุฒิชัย
ลำดับที่ 20 หม่อมเจ้าซึ่งเป็นพระนัดดาในกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ
ราชสกุล "รัชนี" พระโอรสธิดาในพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์
หม่อมเจ้าหญิงศะศิธรพัฒนวดี รัชนี
หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี
ลำดับที่ 21 หม่อมเจ้าซึ่งเป็นพระราชปนัดดาในรัชกาลที่ 5** (ทรงพระดำเนินตามศักดิ์ของพระบิดา และเรียงตามพระชันษา)
ราชสกุล "บริพัตร" พระโอรสธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิ์พินิต
หม่อมเจ้าหญิงสุขุมาลมารศรี บริพัตร
ราชสกุล "ยุคล"
พระโอรสธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล
หม่อมเจ้าชายภูริพันธ์ ยุคล
หม่อมเจ้าชายนวพรรษ์ ยุคล
หม่อมเจ้าหญิงภาณุมา ยุคล
พระโอรสธิดาในพระเจ้าวรวงศ์ พระองค์เจ้าเฉลิมพลทิฆัมพร
หม่อมเจ้าชายมงคลเฉลิม ยุคล
หม่อมเจ้าชายเฉลิมสุข ยุคล
หม่อมเจ้าชายฑิฆัมพร ยุคล
พระโอรสธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ
หม่อมเจ้าชายจุลเจิม ยุคล
หม่อมเจ้าชายชาตรีเฉลิม ยุคล
หม่อมเจ้าหญิงปัทมนรังษี ยุคล
หม่อมเจ้าหญิงมาลิณีมงคล ยุคล
คุณพลอยไพลิน เจนเซ่น****
พระธิดาในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนฯ กับนายปีเตอร์ เจนเซ่น มีศักดิ์เป็นหลานเธอในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณสิริกิติยา เจนเซ่น****
พระธิดาในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนฯ กับนายปีเตอร์ เจนเซ่น มีศักดิ์เป็นหลานเธอในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ท่านผู้หญิงพันธุ์สวลี กิติยากร
นามเดิมว่า "หม่อมเจ้าหญิงพันธุ์สวลี กิติยากร" พระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล กราบบังคมทูลลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับหม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2499 เป็นพระมารดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
ท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม
พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ กับพันเอกอร่าม รัตนกุล เสรีเริง
ฤทธิ์ มีศักดิ์เป็นพระราชภาคิไนยในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
นายสินธู ศรสงคราม
สามีท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานสมรส เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน
2516
ร้อยโทจิทัส ศรสงคราม
บุตรชายของท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม กับนายสินธู ศรสงคราม มีศักดิ์เป็นพระราชปนัดดาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

วันพุธที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2551

Tournesol


Le tournesol, ou grand soleil, mot emprunté à l'italien girasole, qui tourne avec le soleil, est une grande plante annuelle, appartenant à la famille des Astéracées (Composées), dont les fleurs sont groupées en capitules de grandes dimensions. Cette plante est très cultivée pour ses graines riches en huile (environ 40 % de leur composition) alimentaire de bonne qualité. Le tournesol est, avec le colza et l'olivier, l'une des trois sources principales d'huile alimentaire en Europe.

Normandie


La Normandie est un ancien pays d’Europe du nord-ouest de la France qui occupa tout d’abord la basse vallée de la Seine en 911, puis Le Mans et Bayeux en 924, le Cotentin, l’Avranchin et les îles de la Manche en 933. Duché de 911 à 1204, la partie insulaire (anglo-normande) de la Normandie, hormis Chausey, a formé les bailliages de Jersey et de Guernesey tandis que sa partie continentale (française) est devenue une province historique française après 1204.
Très stables, les frontières continentales de cette
ancienne province concordent assez fidèlement, hormis quelques territoires incorporés aux actuelles Eure-et-Loir, Mayenne, Oise et Sarthe lors de la création des généralités et quelques communes enclavées échangées avec la Mayenne après la création des départements à la Révolution, avec le Calvados, l’Eure, la Manche, l’Orne et la Seine-Inférieure.
À l’époque contemporaine, la Normandie demeure un espace
géographico-culturel dont trois collectivités territoriales portent le nom en partage : les deux régions administratives, sous souveraineté française, de Haute-Normandie et de Basse-Normandie ; le duché de Normandie, composé des bailliages de Jersey et de Guernesey, sur lequel les monarques de Grande-Bretagne exercent la souveraineté sous le titre de « duc de Normandie .

Rue de Siam


La rue de Siam est l’artère principale du centre-ville de Brest. Elle doit son nom au débarquement de trois ambassadeurs du roi de Siam dans ce port, le 18 juin 1686. Accompagnés de six mandarins, trois interprètes, deux secrétaires et une vingtaine de domestiques, chargés de nombreux présents, ils venaient rendre visite au roi Louis XIV à Versailles. Venus par mer, ils avaient voyagé à bord de l’Oiseau et de la Maligne.
Empruntant à pied la rue Saint-Pierre pour se rendre à l’hôtel du même nom, ils émerveillèrent les Brestois qui rebaptisèrent leur rue. À noter que la rue de Siam d’avant la
Seconde Guerre mondiale était bien plus étroite que la rue de Siam d’aujourd'hui.
Elle est citée par
Jacques Prévert dans son poème Barbara

Histoire récente

La rue de Siam commence d'un côté du pont de Recouvrance qui enjambe la Penfeld. Recouvrance est un quartier populaire, celui du vieux Brest qui contraste avec la rue de Siam où, dans les années 1950-1960, se trouvaient les boutiques et les cafés chics de la ville. Dans le bas de la rue de Siam, il y avait à droite le café de l'Epée et à gauche le restaurant Les Antilles. Les aspirants et officiers de toutes nationalités prenaient l'apéritif à l'Epée puis traversaient la rue de Siam pour aller dîner aux Antilles.